วันพฤหัสบดีที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552


สมาชิกกลุ่ม











Reading Strategies

Blazing pub was ‘a deathtrap’


The Santika Club, which became a deadly inferno in the first hour of Jan 1, was a deathtrap due to hazardous materials inside and a lack of safety equipment, an engineering expert says.

Pitchaya Chantranuwat, head of the building safety sub-committee of the Engineering Institute of Thailand, made the assessment after inspecting the debris of Santika on Soi Ekamai yesterday with crime scene investigators and public works officials from the Bangkok Metropolitan Administration.

Mr Pitchaya said the pub lacked basic equipment to deal with a fire, including emergency lamps, fire exit signs and sprinklers.

The three exits for its area of about 400 square metres were insufficient to deal with 400 guests, he said.

Had it had sufficient sprinklers, emergency lights and more prominent fire exit signs, revellers could have escaped and survived the fire, Mr Pitchaya said.

The main gate of the pub was 2.18 metres wide.

In case of fire, the door would be adequate for just 200 people to escape, he said.

Mr Pitchaya also said there were a large number of highly inflammable materials in the pub such as fibreglass, resin and plastic.

The pub's walls were lined with polystyrene.

When the material caught fire, it emitted toxic gases that caused victims to pass out, he added.

Vicharn Peawnim, a forensic doctor at Ramathibodi Hospital, said carbon monoxide, which was a toxic gas, was the main cause of deaths in the pub fire. The gas replaces oxygen in blood, so many victims died when their brains were deprived of oxygen, he said.

It would be easier to treat burnt skin than to treat people who inhaled toxic gases, the doctor said.

Arthi Krueawit, a surgeon at the same hospital, agreed toxic smoke was extremely dangerous.

In the first week after the blaze, the clogged alveoli of their contaminated lungs could swell up causing acute respiratory failure, he said.

Such victims should return to doctors and use respirators that will replace toxic substances in their lungs with oxygen, he suggested.

The Foundation for Consumers recommended a convenient way for victims of the Santika pub fire and their relatives to demand reasonable compensation.

Foundation secretary-general Saree Ongsomwang said under the Consumer Case Procedure Act effective last year, victims of the pub fire could be considered as consumers who had the right to demand reasonable compensation from the operators concerned.

She said the new act provides fast process of compensation demands and judges can raise compensation for victims and fine wrongdoers.

Representatives of White & Brothers, the company that operated Santika, received compensation requests from victims and their relatives at the Thong Lor police station yesterday.

According to Pongsak Poolcharoen, the company's lawyer, 31 shareholders of Santika raised two million baht from their own pockets to initially help victims.

The company will accept compensation demands until Friday. It received only about 50 demands yesterday, the lawyer said.

Among complainants, Thanakorn Duangsawat, 34, said the treatment in the first three days for his 25-year-old sister Anchitcha, whose body suffered 10 per cent burns, had cost as much as 240,000 baht.

She had been released from an intensive care unit (ICU) at Bangkok Hospital on Sunday and would be admitted until tomorrow. He expects the bill to reach 300,000 baht.

The death toll from the Santika pub fire reached 64 as Japanese victim Keiichi Wada died on Sunday night. Of the 68 injured, 35 remained in ICUs yesterday.

Police Forensic Science Department chief Pol Maj-Gen Danaithorn Wongthai said evidence had been gathered including video clippings from the mobile phones of visitors at the pub.

Police are still waiting to finalise witness accounts. So far more than 100 witnesses have spoken to police.

Thong Lor police station chief Pol Col Suthin Sapphuang said police wanted to interrogate Suriya Ritrabue, managing director of White & Brothers, but his whereabouts were unknown. Police issued a summons for Mr Suriya and 12 other pub executives to come forward for questioning tomorrow.










ผับเป็นสถานที่เสี่ยงต่อความตาย

ไฟนรกทำลายล้าง ซานติก้าผับ ในชั่วโมงแรกของวันที่ 1 มกราคม เป็นสถานที่แห่งความตาย ข้างในเต็มไปด้วยอันตราย และขาดแคลนเครื่องมือในการรักษาความปลอดภัย “วิศวกรผู้เชี่ยวชาญพูด”
นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์ ประธานคณะกรรมการมาตรฐานความปลอดภัย อาคารวิศวกรรม แห่งประเทศไทย ประเมินหลังจากตรวจสอบรายละเอียดซากปรักหักพังของ ซานติก้าผับ ในซอยเอกมัย เมื่อวานนี้ กับผู้สอบสวนเหตุการณ์อาชญากรรม และพนักงานที่เกี่ยวข้องจาก Bangkok metropolitan Administration.
นายพิชญะ พูดว่า ผับนี้ไม่พบอุปกรณ์รักษาความปลอดภัยเบื้องต้นที่เกี่ยวกับการไฟไหม้ รวมทั้งยังขาดภาวะฉุกเฉิน เช่น หลอดไฟ ทางหนีไฟ เครื่องหมายทางออกฉุกเฉิน สปริงเกอร์ฉีดน้ำเมื่อเกิดเพลิงไหม้
ภายในผับ มีพื้นที่กว้างประมาณ 400 เมตร แต่มีทางออกเพียง 3 ทาง จึงไม่เพียงพอสำหรับผู้มาเที่ยว 400 คน
ถ้าหากว่ามี สปริงเกอร์ภาวะฉุกเฉิน ทางหนีไฟ เครื่องหมาย สัญญาณอย่างพอเพียง จะสามารถทำให้การหลบหนีรอดตายจากไฟไหม้ได้ “นายพิชญะพูด”
ประตูส่วนใหญ่ของผับกว้าง 2.18 เมตร
ในเหตุการณ์ไฟไหม้นี้ ควรจะทำประตูให้เหมาะสมกับการหลบหนีของคนประมาณ 200 คน
นายพิชญะ พูด อุปกรณ์เครื่องมือในผับ เช่น เส้นใยแก้ว ยางเรซิน และพลาสติกเป็นฉนวนที่ทำให้ไฟรุกไหม้ได้เป็นอย่างดี กำแพงของผับได้ใส่ polystyrene ไว้ด้วยเพื่อป้องกันเสียง
ผู้เคราะห์ร้ายที่รอดออกมาได้ กล่าวเพิ่มเติมว่า อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ต้านไฟ ได้ปล่อยก๊าซพิษออกมา
วิชาญ เปรี้ยวนิ่ม แพทย์จากโรงพยาบาล รามาธิบดี พูดว่า คาร์บอนมอนอกไซด์
เป็นก๊าซพิษ ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่ของความตายในผับที่ไฟไหม้ คือการได้รับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์เข้าไปแทนที่ออกซิเจนในเลือด ซึ่งทำให้ผู้เคราะห์ร้ายที่ตายเพราะสมองขาดออกซิเจน
แพทย์กล่าวว่า ก๊าซนี้มันจะทำให้ผิวหนังไหม้มากกว่าที่จะทำให้สูบก๊าซเข้าไปในปอด
Arthi Krueawit ศัลยแพทย์จากโรงพยาบาลเดิม เห็นด้วยกับการสูบก๊าซพิษจนเกินไปจะทำให้เกิดอันตราย
ในสัปดาห์แรก หลังจากการไฟไหม้เต็มไปด้วย Alveoli มีสารเจือปนทำให้ปอดขยายตัวขึ้น เป็นสาเหตุรุนแรงทำให้การหายใจล้มเหลว
ดังนั้น ผู้เคราะห์ร้ายควรกลับมาพบแพทย์ และใช้เครื่องช่วยหายใจ ในการนำออกซิเจนเข้าในปอด เพื่อทดแทนสารพิษ
มูลนิธิ การบริการเสนอแนวทาง ความสะดวกให้แก่ผู้เคราะห์ร้าย ของเหตุการณ์ณืไฟไหม้ ที่ ซานติก้า ผับ และญาติพี่น้อง โดยการเสียค่าชดเชยค่าเสียหายให้กับผู้เคราะห์ร้ายและญาติ
เลขานุการมูลนิธิ พูดว่า วิธีการบริหารเรื่องนี้ เคยได้ผลเมื่อปีที่แล้ว ผู้เคราะห์ร้ายจากเหตุการณ์ไฟไหม้ผับ ควรได้รับการพิจารณาถึง เหตุผลความถูกต้องที่จะได้รับการทดแทนจากผู้ที่เกี่ยวข้อง จะลงมือเตรียมการอย่างรวดเร็วในขั้นตอนของการชดใช้ค่าเสียหายและยกฟ้องค่าตอบแทน จากเหยื่อและเงินค่าปรับจากผู้กระทำผิด
เจ้าหน้าที่ทำการชดใช้ค่าเสียหาย ที่เป็นตัวแทนจากบริษัท ไวท์ แอนด์ บราเธอร์ ได้มาขอร้องผู้เคราะห์ร้ายและญาติ ที่สถานีตำรวจ ทองหล่อ เมื่อวานนี้
นายปอศักดิ์ เห็นด้วย กับทนายของบริษัทผู้ถือหุ้นของ ซานติก้าผับ ได้มอบเงินส่วนตัว 2 ล้านบาท เพื่อช่วยเหลือเหยื่อผู้เคราะห์ร้าย
บริษัท ตกลงที่จะชดใช้ค่าเสียหายตามความต้องการถึงวันศุกร์ เมื่อวานนี้ มีผู้มาขอรับเงินประมาณ 50 คน
นายธนากร ด้วงสวัสดิ์ ในระหว่างที่ร้องทุกข์ นายธนากร ด้วงสวัสดิ์ อายุ 34 ปี พูดว่า การรักษาใน 3 วันแรกของน้องสาวเขา อัญชิษฐา อายุ 25 ปี ที่ได้รับบาดเจ็บจากเหตุเพลิงไหม้ “ซานติก้าผับ” 10% จ่ายค่ารักษาตัวไปถึง 240,000 บาท ที่ยังนอนรักษาตัวอยู่ในห้อง ICU ที่โรงพยาบาลกรุงเทพ ในวันอาทิตย์ จนกว่าจะถึงวันพรุ่งนี้ คาดว่าจะต้องเสียเงินอีก 300,000 บาท
ผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ไฟไหม้ ซานติก้าผับ มีถึง 64 คน ผู้เคราะห์ร้ายหนึ่งในนั้น เป็นชาวญี่ปุ่นชื่อ นายเคอิชิ วาดะ เสียชีวิตเมื่อคืนวันอาทิตย์ มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 68 คน และ 35 คน อยู่ห้อง ICU
พล.ต.ท. ดนัยธร วงศ์ไทย หัวหน้าแผนก กล่าวว่า หลังจากได้เก็บรวบรวม ทั้งคลิปวีดีโอ จากโทรศัพท์มือถือของผู้มาเที่ยวในผับ
ตำรวจยังคงรอพยานจากในบัญชีรายชื่อที่มีมากกว่า 100 คน เพื่อมาให้การกับตำรวจ
พ.ต.อ. สุทิน ทรัพย์ม่วง หัวหน้า ผกก. สน.ทองหล่อ ของสถานีตำรวจทองหล่อ พูดว่า ทางตำรวจต้องการสอบปากคำ นายสุริยา ฤทธิ์ระบือ ผู้อำนวยการจัดการของบริษัท ไวท์ แอนด์ บราเธอร์ แต่ไม่รู้ว่าอยู่ที่ไหน ตำรวจจึงออกคำสั่งเรียกตัว
นายสุริยา และผู้บริหารผับคนอื่นๆอีก 12 คน ให้มาให้ปากคำในวันพรุ่งนี้

Topic

Blazing pub was ‘a deathtrap’

Main idea

The Santika Club, which became a deadly inferno in the first hour of Jan 1, was a deathtrap due to hazardous materials inside and a lack of safety equipment.

List of Unfamiliar Words